รายงานข้อมูลสาธารณะ


ด้านขนส่ง

   ท่าเรือแหลมฉบังเป็นท่าเรือน้ำลึกหลักในกการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ มีปริมาณรถบรรทุกเข้าสู่ท่าเรือจำนวนมาก โดยเฉพาะวันปลายสัปดาห์เนื่องจากเรือออกจากท่า ทำให้เกิดปัญหาความไม่สะดวก และปัญหาการจราจรบนโครงข่ายถนนโดยรอบ และภายในเขตท่าเรือ


 

จำนวนเรือเทียบท่าแหลมฉบัง (จำแนกประเภทเรือ) ปี 2563

ดาวน์โหลดชุดข้อมูล

จำนวนเรือเทียบท่า เรือที่เทียบท่าเรือแหลมฉบัง ได้แก่ เรือตู้สินค้า(ระหว่างประเทศหรือชายฝั่ง) เรือสินค้าทั่วไป เรือRO-RO เรือสินค้าเทกอง เรือโดยสาร เรือลำเลียง และเรืออื่นๆ (หน่วยเป็นเที่ยว)

แผนกวิจัยและพัฒนาธุรกิจ กองแผนงาน ท่าเรือแหลมฉบัง

จำนวนเรือเทียบท่าแหลมฉบัง (จำแนกประเภทเรือ) ปี 2563

ดาวน์โหลดชุดข้อมูล

จำนวนเรือเทียบท่า เรือที่เทียบท่าเรือแหลมฉบัง ได้แก่ เรือตู้สินค้า(ระหว่างประเทศหรือชายฝั่ง) เรือสินค้าทั่วไป เรือRO-RO เรือสินค้าเทกอง เรือโดยสาร เรือลำเลียง และเรืออื่นๆ (หน่วยเป็นเที่ยว)

แผนกวิจัยและพัฒนาธุรกิจ กองแผนงาน ท่าเรือแหลมฉบัง

ปริมาณการขนส่งสินค้าทางน้ำระหว่างประเทศ (ท่าเรือแหลมฉบัง) จังหวัดชลบุรี ปี 2541-2559

ดาวน์โหลดชุดข้อมูล

ท่าเรือน้ำลึกแหลมฉบัง เป็นท่าเรือน้ำลึกหลักในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา และ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อยู่ภายใต้การดูแลของการท่าเรือแห่งประเทศไทยในเรื่องการบริหารท่าเรือโดยรวม และมีเอกชนรับผิดชอบในเรื่องปฏิบัติการ โดยท่าเรือแหลมฉบังได้รับการสนับสนุนส่งเสริมจากรัฐบาลในการเป็นท่าเรือหลักของประเทศแทนท่าเรือกรุงเทพฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 บริเวณโดยรอบท่าเรือแหลมฉบังได้รับการพัฒนาให้เป็นเขตเศรษฐกิจแหลมฉบัง ซึ่งมีการพัฒนาที่พักอาศัย สาธารณูปโภค การคมนาคมขนส่ง นิคมอุตสาหกรรม ตลอดจนศูนย์ราชการ เพื่อการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจที่สำคัญในอนาคต

รายงานสถิติการขนส่งสินค้าทางน้ำ บริเวณเมืองท่าชายทะเล

ปริมาณการขนส่งสินค้าทางน้ำระหว่างประเทศ (ท่าเรือแหลมฉบัง) จังหวัดชลบุรี ปี 2541-2559

ดาวน์โหลดชุดข้อมูล

ท่าเรือน้ำลึกแหลมฉบัง เป็นท่าเรือน้ำลึกหลักในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา และ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อยู่ภายใต้การดูแลของการท่าเรือแห่งประเทศไทยในเรื่องการบริหารท่าเรือโดยรวม และมีเอกชนรับผิดชอบในเรื่องปฏิบัติการ โดยท่าเรือแหลมฉบังได้รับการสนับสนุนส่งเสริมจากรัฐบาลในการเป็นท่าเรือหลักของประเทศแทนท่าเรือกรุงเทพฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 บริเวณโดยรอบท่าเรือแหลมฉบังได้รับการพัฒนาให้เป็นเขตเศรษฐกิจแหลมฉบัง ซึ่งมีการพัฒนาที่พักอาศัย สาธารณูปโภค การคมนาคมขนส่ง นิคมอุตสาหกรรม ตลอดจนศูนย์ราชการ เพื่อการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจที่สำคัญในอนาคต

รายงานสถิติการขนส่งสินค้าทางน้ำ บริเวณเมืองท่าชายทะเล

Loading

HELLLLLLo