นโยบายแพลตฟอร์มข้อมูลเมือง
แนะนำแพลตฟอร์มข้อมูลเมือง
ค้นหาเมืองที่เข้าร่วมแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองอัจฉริยะ
เพื่อใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี นวัตกรรมที่ทันสมัย และชาญฉลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการ และการบริหารจัดการเมือง
ข้อมูลเมืองอัจฉริยะ
เมืองอัจฉริยะ
ตัวอย่างข้อมูลเมืองอัจฉริยะ
โซเชียลลิสเซินนิ่ง
ข้อมูลโครงการเมืองอัจฉริยะของประเทศไทย
โดยประกอบด้วย ชื่อเมือง, พื้นที่, ผู้ดำเนินโครงการ และประเภทของเมืองอัจฉริยะ
เขตส่งเสริมเมืองอัจฉริยะ
- สีเหลือง: แสดงเมืองอัจฉริยะพื้นที่ภาคเหนือ
- สีเขียว: แสดงเมืองอัจฉริยะพื้นที่ภาคกลาง
- สีฟ้า: แสดงเมืองอัจฉริยะพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- สีส้ม: แสดงเมืองอัจฉริยะภาคตะวันออก
- สีน้ำเงิน: แสดงเมืองอัจฉริยะภาคใต้
- สีแดง: แสดงเมืองที่เป็นเขตส่งเสริม
Filter by
Title | Category | Link |
---|
ข้อมูลเมืองอัจฉริยะ
เป็นข้อมูลเปิดของเมืองที่ช่วยให้ประชาชนเห็นเมืองได้กว้างขึ้น เข้าใจการทำงานของเมืองลึกขึ้น รวมถึงสามารถหมุนข้อมูลในมิติต่างไปจากที่คุ้นชิน เพื่อจุดประกายแนวทางปรับปรุงเมือง และพัฒนาเป็นโครงการเมืองอัจฉริยะ
ตัวอย่างข้อมูลเปิดโควิด-19 (ด้านล่าง)
แสดงให้เห็นว่าหัวเมืองใหญ่ในต่างจังหวัดมีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 สูงขึ้นในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2564 ต่างจากช่วงก่อนที่จำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 กระจุกตัวอยู่ในกรุงเทพฯ และจังหวัดที่เป็นที่ตั้งโรงงาน
โครงการพัฒนาระบบโซเชียลลิสเซินนิ่ง
ตัวอย่าง Dashboard Sentiment Analysis
ข้อมูลจาก Twitter ปี 2564 – 2565
แยกออกเป็น 7 ด้าน ประกอบด้วย
- ระบบสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
- พลังงานอัจฉริยะ
- เศรษฐกิจอัจฉริยะ
- การบริหารภาครัฐอัจฉริยะ
- การเดินทางและขนส่งอัจฉริยะ
- พลเมืองอัจฉริยะ
- การดำรงชีวิตอัจฉริยะ