แพลตฟอร์มข้อมูลเมืองอัจฉริยะ

ค้นหาเมืองที่เข้าร่วมแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองอัจฉริยะ

เพื่อใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี นวัตกรรมที่ทันสมัย และชาญฉลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการ และการบริหารจัดการเมือง

เกาะรัตนโกสินทร์
เทศบาลเมืองปัตตานี
ชลบุรีเมืองอัจฉริยะ
นครศรีธรรมราชเมืองอัจฉริยะ
ฉะเชิงเทรา
เมืองน่าอยู่ น่าเที่ยว น่าลงทุน
สามย่านสมาร์ทซิตี้
เทศบาลนครเชียงใหม่
อุบลราชธานี
คลองผดุงกรุงเกษม
เทศบาลนครอุบลราชธานี
นครระยอง
เมืองอัจฉริยะและน่าอยู่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เกาะสมุย
เทศบาลนครพิษณุโลก
นครราชสีมา
เทศบาลนครเชียงราย
เทศบาลเมืองน่าน
เทศบาลตำบลพลับพลานารายณ์
เทศบาลนครสงขลา
สมุทรปราการสมาร์ทซิตี้
เทศบาลเมืองนราธิวาส

นโยบายแพลตฟอร์มข้อมูลเมือง

ข้อมูลเมืองอัจฉริยะ

ข้อมูลโครงการเมืองอัจฉริยะของประเทศไทย

โดยประกอบด้วย ชื่อเมือง, พื้นที่, ผู้ดำเนินโครงการ และประเภทของเมืองอัจฉริยะ

เขตส่งเสริมเมืองอัจฉริยะ

  • สีเหลือง: แสดงเมืองอัจฉริยะพื้นที่ภาคเหนือ
  • สีเขียว: แสดงเมืองอัจฉริยะพื้นที่ภาคกลาง
  • สีฟ้า: แสดงเมืองอัจฉริยะพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • สีส้ม: แสดงเมืองอัจฉริยะภาคตะวันออก
  • สีน้ำเงิน: แสดงเมืองอัจฉริยะภาคใต้
  • สีแดง: แสดงเมืองที่เป็นเขตส่งเสริม

Filter by
TitleCategoryLink
ข้อมูลเมืองอัจฉริยะ

เป็นข้อมูลเปิดของเมืองที่ช่วยให้ประชาชนเห็นเมืองได้กว้างขึ้น เข้าใจการทำงานของเมืองลึกขึ้น รวมถึงสามารถหมุนข้อมูลในมิติต่างไปจากที่คุ้นชิน เพื่อจุดประกายแนวทางปรับปรุงเมือง และพัฒนาเป็นโครงการเมืองอัจฉริยะ

ตัวอย่างข้อมูลเปิดโควิด-19 (ด้านล่าง)

แสดงให้เห็นว่าหัวเมืองใหญ่ในต่างจังหวัดมีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 สูงขึ้นในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2564 ต่างจากช่วงก่อนที่จำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 กระจุกตัวอยู่ในกรุงเทพฯ และจังหวัดที่เป็นที่ตั้งโรงงาน

โครงการพัฒนาระบบโซเชียลลิสเซินนิ่ง

ตัวอย่าง Dashboard Sentiment Analysis
ข้อมูลจาก Twitter ปี 2564 – 2565

แยกออกเป็น 7 ด้าน ประกอบด้วย
  1. ระบบสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
  2. พลังงานอัจฉริยะ
  3. เศรษฐกิจอัจฉริยะ
  4. การบริหารภาครัฐอัจฉริยะ
  5. การเดินทางและขนส่งอัจฉริยะ
  6. พลเมืองอัจฉริยะ
  7. การดำรงชีวิตอัจฉริยะ

Loading